Page 88 - 5
P. 88

82                                                   5 การฝกประสบการณ การจัดโครงงาน



                   •  การพิมพภาพประกอบ
                      ภาพประกอบ ไดแก ภาพลายเสน ภาพถาย ภาพเขียน แผนภูมิ กราฟและอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ
                                     
             กับเนื้อหาสาระที่นําเสนอ เพื่อเพิ่มความเขาใจ ความชัดเจนแกผูอาน มีแนวปฏิบัติดังนี้
                      1. ขนาดของภาพประกอบ ควรมีขนาดใหญ สัดสวนถูกตอง ชัดเจน และสามารถใสไวไดใน

             หนึ่งหนากระดาษ พรอมระบุลําดับทีของภาพและชื่อหรอคาอธิบายไวใตภาพ กลางหนากระดาษภายใน
                                         ่
                                                        ื
                                                          ํ
             หนาเดียวกับภาพนั้น
                      2. ภาพประกอบที่เปนภาพสี ควรพิมพหรอถายสําเนาเปนภาพสี หากเปนภาพขาว-ดําก็ตอง
                                                        
                                                      ื
             มองเห็นรายละเอียดไดชัดเจน
                             ํ
                      3. การกาหนดหมายเลขลําดับภาพ ตองเรยงลําดับหมายเลขของภาพแตละประเภทจาก 1
                                                       ี
                                                                  ื
             ไปจนจบเลม รวมทั้งที่ปรากฏในภาคผนวกดวย  เชน  “ภาพที่ 1” หรอ “แผนภูมิที่ 1” เปนตน

                   •  การพมพบรรณานุกรม
                             
                          ิ
                      1. ใหพิมพคําวา “บรรณานุกรม” ไวกลางหนากระดาษ โดยเวนกรอบการพิมพเชนเดียวกับ
                        
             การเรมบทใหม และเวนระยะระหวางบรรทัด 2 บรรทัด จึงเรมพิมพบรรทัดแรกของแตละรายการของ
                 ่
                                                             ่
                 ิ
                                                             ิ
                            
                    ่
                               ิ
             เอกสารทีใชในการอางอง
                      2. การพิมพแตละรายการเอกสาร ใหพิมพชิดกรอบการพิมพดานซายมือ หากพิมพรายการ
                                                   
              
             ไมจบใน 1 บรรทัด ใหขึ้นบรรทัดใหมโดยเวนยอหนา 7 ชวงตัวอักษร และเริ่มพิมพในชวงตัวอักษรที่ 8
                                                   ิ
                                                
                      3. การเขียนรายการของเอกสารอางอง ใหเรียงรายชื่อเอกสารอางอิงที่เปนภาษาไทยไวกอน
                    ่
                                           
             เอกสารทีเปนภาษาตางประเทศ  โดยไมตองจําแนกประเภทของเอกสาร
                                                    ั
                      4. ใหเรียงลําดับเอกสารอางอิงตามตัวอกษรของชื่อผูแตง หากเปนเอกสารภาษาตางประเทศ
             ใหใสชื่อทายของผูแตงกอน
                      5. กรณีที่อางอิงเอกสารซําชื่อผูแตงใหขีดเสน 7 ชวงตัวอักษร ในตําแหนงชื่อผูแตงตามดวย
                                          ้
               ่
                                                                                       ื
             เครองหมายมหัพภาค (.) และเรียงลําดับงานของผูแตงคนเดียวกนตามลําดับเวลาของผลงานหรอลําดับ
                                                               ั
               ื
             อักษรของชื่อผลงาน
                                 
                             ี
                                            ู
                                                             ู
                                                                           ื
                                                                               ั
                      6. การเขยนอางองมหลายรปแบบ หากเลือกใชรปแบบใดใหใชเหมอนกนหมดทุกรายการ
                                                                      
                                    ิ
                                      ี
             อยางไรก็ดี การอางอิงก็มีหลายลักษณะ ดังนี้
                        6.1 กรณีผูแตงคนเดียว ตัวอยางเชน

                 
             ยืน ภูวรวรรณ. อิเล็กทรอนิสอุตสาหกรรม. พิมพครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : บริษัทซีเอ็ดยูเคชั่น, 2527.
             สุรชัย จันทรสุข. “กลยุทธการฝกชางอุตสาหกรรม,” วารสารวิชาการพระจอมเกลาพระนครเหนือ. 5 (2) :
                   9-16; เมษายน 2538.
   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92   93