Page 10 - 7
P. 10

7 การวัดและประเมินผลอาชีวศึกษา                                                1




              การวัดและประเมินผลอาชีวศึกษา
              หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกียวกับการจดการอาชีวศึกษาระดับประกาศนยบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนยบัตรวิชาชีพชั้นสูง
                              ่
                                    ั
                                                                        ี
                                                      ี

              แนวคิด

                      พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ
                                             ่
             (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2553 หมวด 4 แนวการจัดการศึกษา ได้กำหนดใหการจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่า
                                                                   ้
             ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด กระบวนการ
                                   ้
             จัดการศึกษาต้องส่งเสริมใหผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยต้องเน้น
             ความสำคัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ

             การศึกษา ทั้งนี้ ใหสถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความ
                            ้
             ประพฤติ การสังเกตพฤติกรรมการเรยน การรวมกิจกรรมและการทดสอบควบคู่ไปในกระบวนการเรยน
                                         ี
                                                ่
                                                                                          ี
             การสอนตามความเหมาะสมของแต่ละระดับและรูปแบบการศึกษา

                                            ่
                                                                   ้
                      กรอบคุณวุฒิอาชีวศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2562 กำหนดใหการจัดการอาชีวศึกษาทุกระดับ
             คุณวุฒิ ประเภทวิชาและสาขาวิชาต้องเน้นคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา อย่างน้อย ๔ ด้าน คือ
                      1. ด้านคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ หมายถึง ความเป็นผู้มีคุณธรรม

             จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ เจตคติและกิจนิสัยที่ดี ภูมิใจและรักษาเอกลักษณ์ของชาติไทย เคารพ
                                  ื่
             กฎหมาย เคารพสิทธิของผู้อน มีความรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเองตามระบอบประชาธิปไตย
             อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีจิตสาธารณะและมีจิตสานึกรักษ์สิ่งแวดล้อม
                      2. ด้านความรู้ หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับข้อเท็จจริง หลักการ ทฤษฎี และแนวปฏิบัติต่าง ๆ
             ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชาที่เรียนหรือทำงาน โดยเน้นความรู้เชิงทฤษฎีและหรือข้อเท็จจริงเป็นหลัก

                      3. ด้านทักษะ หมายถึง ความสามารถปฏิบัติงานซึ่งบุคคลนั้นควรทำได้เมื่อได้รับมอบหมาย
             โดยสามารถเลือกใช้วิธีการจัดการและแกปัญหาการทำงานด้วยทักษะด้านกระบวนการคดที่เกี่ยวข้องกับ
                                                                                 ิ
                                            ้
                                                      ์
             การใช้ตรรกะ ทักษะการหยั่งรู้และความคิดสร้างสรรค ทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตหรือทักษะการปฏิบัติ
             หรือวิธีปฏิบัติที่มีความคล่องแคล่วและความชำนาญในการปฏิบัติตามเกณฑ์มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา

             แต่ละระดับ
                      4. ด้านความสามารถในการประยุกต์ใช้และความรับผิดชอบ หมายถึง ความสามารถของ

             บุคคลที่เกิดจากกระบวนการเรียนรู้ การใช้ความรู้ ทักษะทางสังคมในการทำงานหรือการศึกษาอบรมเพื่อ
             การพัฒนาวิชาชีพของบุคคล ซึ่งประกอบไปด้วยความสามารถในการสื่อสาร ภาวะผู้นำ ความรับผิดชอบ
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15