Page 63 - 5
P. 63

5 การฝกประสบการณ การจัดโครงงาน                                            57



             การจัดโครงงานพัฒนาสมรรถนะวิชาชีพ
             หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกียวกับการจดการอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ และระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง
                             ่
                                   ั

             แนวคิด



                      การอาชีวศกษาถือเปนเครื่องมือสําคัญในการผลิตกําลังคนที่มีคุณภาพเพื่อสรางความเขมแข็ง
                              ึ
                                                          
                                                            ั
                                                              ้
                                   ิ
             และความเติบโตทางเศรษฐกจของประเทศในภาวะการแขงขนทังในประเทศและตางประเทศ หลักสูตร
             อาชีวศึกษาจึงตองมีความยืดหยุน งายตอการปรับเปลี่ยนใหตรงกับความตองการของภาคอตสาหกรรม
                                                                                    ุ
             และภาคธุรกิจบริการ กระบวนการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผูเรียนตองเนนการเรียนรูแบบบูรณาการ การ
                  ู
                                                                                  ิ
             เรียนรดวยการปฏิบัติจริงและการประเมินผลตามสภาพจริง  เพื่อฝกทักษะกระบวนการคด การจัดการ
                                                    ู
             การเผชิญสถานการณ และการประยุกตใชความรเพื่อการปองกัน แกปญหาและหรอพัฒนางานอาชีพ
                                                                              ื
             และการดํารงชีวิต ทั้งนี้ โดยคํานึงถึงความถนัด ความสนใจและความแตกตางระหวางบุคคล รวมทั้งใหมี
                                                                                           
                       ุ
                                                                         ี
                                                                              ึ
             การปลูกฝงคณธรรม คานิยมที่ดีงามและคุณลักษณะอันพึงประสงคใหแกผูเรยน ซ่งสอดคลองกับแนว
             พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบับที่
                                                        
             3) พ.ศ. 2553

                                                                ึ
                                          
                                                                                ํ
                      นอกจากนี ในมาตรา 6 แหงพระราชบัญญัติการอาชีวศกษา พ.ศ. 2551 ไดกาหนดเปาหมาย
                              ้
             ของการจัดการอาชีวศกษาและการฝกอบรมวิชาชีพวา “ตองเปนการจัดการศึกษาในดานวิชาชีพที ่
                               ึ
             สอดคลองกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ และแผนการศึกษาแหงชาติ เพื่อผลิตและพัฒนา
             กาลังคนในดานวิชาชีพระดับฝมือ ระดับเทคนิคและระดับเทคโนโลยี รวมทั้งเปนการยกระดับการศึกษา
              ํ
                        ึ
             วิชาชีพใหสูงข้น เพื่อใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน โดยนําความรทางทฤษฎีอันเปน
                                                                              ู
                                                                              
             สากลและภูมิปญญามาพัฒนาผูรับการศึกษาใหมีความร ความสามารถในทางปฏิบัติ และมีสมรรถนะ
                                                         ู
                                                         ื
                                                                            ิ
                                                    ิ
             จนสามารถนําไปประกอบอาชีพในลักษณะผูปฏบัติหรอประกอบอาชีพโดยอสระได” การจัดการ
             อาชีวศึกษาตามกรอบคณวุฒิอาชีวศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2562 และเกณฑมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษา
                               ุ
             ระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ พ.ศ. 2562 และเกณฑมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตร
             วิชาชีพชั้นสูง พ.ศ. 2562 จึงกําหนดกรอบโครงสรางหลักสูตรทุกระดับคุณวุฒิใหผูเรียนทุกคนไดเรียนรูสู
                                                                                            
                                     ู
             การปฏิบัติจริง โดยนําความร ทักษะและประสบการณมาประยุกตใชในการจัดทําโครงงานพัฒนา
                                     
                                                                                  ็
                                                                                       ึ
                                                 ี
                                                     ่
                                               ่
                            ่
                                     ั
                                                               ่
                                                                    ่
             สมรรถนะวิชาชีพทีสอดคลองกบสาขาวิชาทีเรยน ซงเปนสวนหนึงในเงือนไขของการสําเรจการศกษาใน
                                                     ึ
             แตละระดับดวย
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68